วันศุกร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554

Oarfish ปลาพญานาค Oarfish ปลาที่คนนึกเป็นพญานาค OarFish เป็นปลาทะเล ออร์เดอร์ ( Order ) Lampriformes แฟมิลี่ ( Family ) Regalecidae OarFish ห

Oarfish ปลาพญานาค




Oarfish ปลาที่คนนึกเป็นพญานาค

OarFish เป็นปลาทะเล
ออร์เดอร์ ( Order ) Lampriformes
แฟมิลี่ ( Family ) Regalecidae










OarFish หรืออีกชื่อหนึ่งที่คนเรียกว่า Dragon of the Deep "มังกรทะเลลึก"


Oarfishเจ้าปลาไหล หรือ มังกรทะเลลึกปลาไหลทะเลลึก
หรือ ปลามังกรทะเล


มนุษย์เคยเคลือบแคลงมา เป็นเวลานานมาแล้ว


เกี่ยวกับสัตว์ทะเลที่มีชื่อว่า "มังกรทะเลลึก" (Dragons of The Deep) มีนิยายเก่าแก่ ที่บรรยายถึงมังกรทะเลกล่าวไว้ว่า


"มังกรทะเล..มีลำตัวยาวคล้ายงู หัวเหมือนม้า มีขนคอสีแดงดุจเปลวเพลิง"







ในที่สุดความจริงก็ปรากฏ



เพราะได้มีนักวิทยาศาสตร์ ได้ทำการค้นคว้าหาความจริง


และพบความจริงว่า "มังกรทะเลลึก" ที่กล่าวถึงนั้น ที่แท้แล้ว ก็คือ ปลาประหลาดชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า ปลาใบพาย หรือ ปลาริบบิ้น นั่นเอง บางทีก็เรียกว่า ปลาออร์ (OAR FISH)


ปลาชนิดนี้ มีขากรรไกรยาว หน้าผากโหนกคล้ายม้า ตาโต คลีบบนหลัง ยื่นออกมายาวเลยหัว มีคลีบพิเศษ ยื่นออกมาทั้งสองข้างของส่วนหัว คล้ายใบพาย และมีลำตัวแบน


ปลาประหลาดชนิดนี้ หาดูได้ยากที่สุดในโลก เพราะมันอยู่ในความลึกของท้องทะเล ถึง 3,000 ฟุต และเคยพบตัวใหญ่ที่สุด มีความยาวถึง 200 ฟุต


แม้ว่า สัตว์ประหลาดชนิดนี้ จะมีขนาดใหญ่โตอย่างไร แต่ก็ไม่เป็นพิษ เป็นภัย กับมนุษย์นะคะ ก็เพราะมันไม่มีเขี้ยวเล็บอะไร ที่สำคัญก็คือสัตว์โลกที่แสนสวย น่าดูมาก


ส่วนใหญ่ ก็จะพบในสภาพที่ตายแล้วนั่นเอง








OarFish เป็นปลาทะเล เป็น ปลาน้ำลึก พบได้ในน่านน้ำเขตร้อน
ปลาออร์ฟิซเป็นปลาตัวแบนยาว ขนาดใหญ่ มีสีเงิน มีครีบหลังยาวตั้งแต่หัวจรดหาง
โดยเฉพาะด้านหน้าจะยาวเป็นพิเศษ ปลาออร์ฟิซ
ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่บันทึกไว้ใน Guinness Book of World Records มีความยาวถึง 11 เมตร










ออร์ฟิซ มาจากความเชื่อทีว่า ปลาถูกแรงดันน้ำอันมหาศาล อัดจนร่างกายแบนยาว ( Oar แปลว่า รูปร่างยาว แบนเหมือนแผ่นกระดาน )


แต่ปัจจุบันสามารถพิสูจน์แล้วไม่เป็นความจริง และด้วยพฤติกรรม เมื่อใกล้ตายปลาออร์ฟิซ จะขึ้นมาบนผิวน้ำ















ทำให้เป็นต้นเหตุของตำนานเกี่ยวกับมังกรทะเล มากมาย
และคิดว่าคงเป็นต้นเหตุให้เกิดตำนานพญานาคนั่นเอง(ความเห็นส่วนตัวค่ะ)







ขอบคุณ
www.magiedubouddha

http://www.rmutphysics.com
http://2.bp.blogspot.com
ฟิสิกส์ราชมงคล
Oarfish ปลาพญานาค




Oarfish ปลาที่คนนึกเป็นพญานาค

OarFish เป็นปลาทะเล
ออร์เดอร์ ( Order ) Lampriformes
แฟมิลี่ ( Family ) Regalecidae










OarFish หรืออีกชื่อหนึ่งที่คนเรียกว่า Dragon of the Deep "มังกรทะเลลึก"


Oarfishเจ้าปลาไหล หรือ มังกรทะเลลึกปลาไหลทะเลลึก
หรือ ปลามังกรทะเล


มนุษย์เคยเคลือบแคลงมา เป็นเวลานานมาแล้ว


เกี่ยวกับสัตว์ทะเลที่มีชื่อว่า "มังกรทะเลลึก" (Dragons of The Deep) มีนิยายเก่าแก่ ที่บรรยายถึงมังกรทะเลกล่าวไว้ว่า


"มังกรทะเล..มีลำตัวยาวคล้ายงู หัวเหมือนม้า มีขนคอสีแดงดุจเปลวเพลิง"








ในที่สุดความจริงก็ปรากฏ



เพราะได้มีนักวิทยาศาสตร์ ได้ทำการค้นคว้าหาความจริง


และพบความจริงว่า "มังกรทะเลลึก" ที่กล่าวถึงนั้น ที่แท้แล้ว ก็คือ ปลาประหลาดชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า ปลาใบพาย หรือ ปลาริบบิ้น นั่นเอง บางทีก็เรียกว่า ปลาออร์ (OAR FISH)


ปลาชนิดนี้ มีขากรรไกรยาว หน้าผากโหนกคล้ายม้า ตาโต คลีบบนหลัง ยื่นออกมายาวเลยหัว มีคลีบพิเศษ ยื่นออกมาทั้งสองข้างของส่วนหัว คล้ายใบพาย และมีลำตัวแบน


ปลาประหลาดชนิดนี้ หาดูได้ยากที่สุดในโลก เพราะมันอยู่ในความลึกของท้องทะเล ถึง 3,000 ฟุต และเคยพบตัวใหญ่ที่สุด มีความยาวถึง 200 ฟุต


แม้ว่า สัตว์ประหลาดชนิดนี้ จะมีขนาดใหญ่โตอย่างไร แต่ก็ไม่เป็นพิษ เป็นภัย กับมนุษย์นะคะ ก็เพราะมันไม่มีเขี้ยวเล็บอะไร ที่สำคัญก็คือสัตว์โลกที่แสนสวย น่าดูมาก


ส่วนใหญ่ ก็จะพบในสภาพที่ตายแล้วนั่นเอง









OarFish เป็นปลาทะเล เป็น ปลาน้ำลึก พบได้ในน่านน้ำเขตร้อน
ปลาออร์ฟิซเป็นปลาตัวแบนยาว ขนาดใหญ่ มีสีเงิน มีครีบหลังยาวตั้งแต่หัวจรดหาง
โดยเฉพาะด้านหน้าจะยาวเป็นพิเศษ ปลาออร์ฟิซ
ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่บันทึกไว้ใน Guinness Book of World Records มีความยาวถึง 11 เมตร











ออร์ฟิซ มาจากความเชื่อทีว่า ปลาถูกแรงดันน้ำอันมหาศาล อัดจนร่างกายแบนยาว ( Oar แปลว่า รูปร่างยาว แบนเหมือนแผ่นกระดาน )


แต่ปัจจุบันสามารถพิสูจน์แล้วไม่เป็นความจริง และด้วยพฤติกรรม เมื่อใกล้ตายปลาออร์ฟิซ จะขึ้นมาบนผิวน้ำ















ทำให้เป็นต้นเหตุของตำนานเกี่ยวกับมังกรทะเล มากมาย
และคิดว่าคงเป็นต้นเหตุให้เกิดตำนานพญานาคนั่นเอง(ความเห็นส่วนตัวค่ะ)








ขอบคุณ
www.magiedubouddha

http://www.rmutphysics.com
http://2.bp.blogspot.com
ฟิสิกส์ราชมงคล

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น